วันพุธที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2551

รายละเอียดในการฝึกประสบการวิชาชีพ (สัปดาห์ที่ 12)


สัปดาห์ที่ 12 (วันที่ 25 - 29 สิงหาคม 2551) เวลา 8.00 - 17.30 น.

1. สรุปสต็อกน้ำมันใสประจำวัน
2. เช็คราคามันน้ำจากที่ต่าง ๆ เพื่อเปรียบเทียบราคา
3. คีย์ราคาน้ำมันลงในระบบ Axapta
4. ทำใบขออนุมัติจ่ายน้ำมัน
5. ออกใบสั่งซื้อสินค้า
6. สรุปผลต่างการรับน้ำมันทางรถ
7. แจ้งประกันรับน้ำมันทางเรือ
8. จัดทำเอกสารให้ฝ่ายที่เกี่ยวข้อง

รายละเอียดในการฝึกประสบการวิชาชีพ (สัปดาห์ที่ 11)


สัปดาห์ที่ 11 (วันที่ 18 - 22 สิงหาคม 2551) เวลา 8.00 - 17.30 น.

1. สรุปสต็อกน้ำมันใสประจำวัน
2. เช็คราคามันน้ำจากที่ต่าง ๆ เพื่อเปรียบเทียบราคา
3. คีย์ราคาน้ำมันลงในระบบ Axapta
4. ทำใบขออนุมัติจ่ายน้ำมัน
5. ออกใบสั่งซื้อสินค้า
6. สรุปผลต่างการรับน้ำมันทางรถ
7. แจ้งประกันรับน้ำมันทางเรือ
8. จัดทำเอกสารให้ฝ่ายที่เกี่ยวข้อง

รายละเอียดในการฝึกประสบการวิชาชีพ (สัปดาห์ที่ 10)


สัปดาห์ที่ 10 (วันที่ 11 - 15 สิงหาคม 2551) เวลา 8.00 - 17.30 น.

1. สรุปสต็อกน้ำมันใสประจำวัน
2. เช็คราคามันน้ำจากที่ต่าง ๆ เพื่อเปรียบเทียบราคา
3. คีย์ราคาน้ำมันลงในระบบ Axapta
4. ทำใบขออนุมัติจ่ายน้ำมัน
5. ออกใบสั่งซื้อสินค้า
6. สรุปผลต่างการรับน้ำมันทางรถ
7. แจ้งประกันรับน้ำมันทางเรือ
8. จัดทำเอกสารให้ฝ่ายที่เกี่ยวข้อง

รายละเอียดในการฝึกประสบการวิชาชีพ (สัปดาห์ที่ 9)


สัปดาห์ที่ 9 (วันที่ 4 - 8 สิงหาคม 2551)เวลา 8.00 - 17.30 น.

1. สรุปสต็อกน้ำมันใสประจำวัน
2. เช็คราคามันน้ำจากที่ต่าง ๆ เพื่อเปรียบเทียบราคา
3. คีย์ราคาน้ำมันลงในระบบ Axapta
4. ทำใบขออนุมัติจ่ายน้ำมัน
5. ออกใบสั่งซื้อสินค้า
6. สรุปผลต่างการรับน้ำมันทางรถ
7. แจ้งประกันรับน้ำมันทางเรือ
8. จัดทำเอกสารให้ฝ่ายที่เกี่ยวข้อง



รายละเอียดในการฝึกประสบการวิชาชีพ (สัปดาห์ที่ 8)


สัปดาห์ที่ 8 (วันที่ 28 - 1 สิงหาคม 2551) เวลา 8.00 - 17.30 น.

1. สรุปสต็อกน้ำมันใสประจำวัน
2. เช็คราคามันน้ำจากที่ต่าง ๆ เพื่อเปรียบเทียบราคา
3. คีย์ราคาน้ำมันลงในระบบ Axapta
4. ทำใบขออนุมัติจ่ายน้ำมัน
5. ออกใบสั่งซื้อสินค้า
6. สรุปผลต่างการรับน้ำมันทางรถ
7. แจ้งประกันรับน้ำมันทางเรือ
8. จัดทำเอกสารให้ฝ่ายที่เกี่ยวข้อง

รายละเอียดในการฝึกประสบการวิชาชีพ (สัปดาห์ที่ 7)


สัปดาห์ที่ 7 (วันที่ 21-25 กรกฎาคม 2551)เวลา 8.00 - 17.30 น.

1. สรุปสต็อกน้ำมันใสประจำวัน
2. เช็คราคามันน้ำจากที่ต่าง ๆ เพื่อเปรียบเทียบราคา
3. คีย์ราคาน้ำมันลงในระบบ Axapta
4. ทำใบขออนุมัติจ่ายน้ำมัน
5. ออกใบสั่งซื้อสินค้า
6. สรุปผลต่างการรับน้ำมันทางรถ
7. แจ้งประกันรับน้ำมันทางเรือ
8. จัดทำเอกสารให้ฝ่ายที่เกี่ยวข้อง

รายละเอียดในการฝึกประสบการวิชาชีพ (สัปดาห์ที่ 6)

สัปดาห์ที่ 6 (วันที่ 14 - 18 กรกฎาคม 2551) เวลา 8.00 - 17.30 น.

1. สรุปสต็อกน้ำมันใสประจำวัน
2. เช็คราคามันน้ำจากที่ต่าง ๆ เพื่อเปรียบเทียบราคา
3. คีย์ราคาน้ำมันลงในระบบ Axapta
4. ทำใบขออนุมัติจ่ายน้ำมัน
5. ออกใบสั่งซื้อสินค้า
6. สรุปผลต่างการรับน้ำมันทางรถ
7. แจ้งประกันรับน้ำมันทางเรือ
8. จัดทำเอกสารให้ฝ่ายที่เกี่ยวข้อง

รายละเอียดในการฝึกประสบการวิชาชีพ (สัปดาห์ที่ 5)

สัปดาห์ที่ 5 (วันที่ 7 - 11 กรกฎาคม 2551) เวลา 8.00 - 17.30 น.

1. สรุปสต็อกน้ำมันใสประจำวัน
2. เช็คราคามันน้ำจากที่ต่าง ๆ เพื่อเปรียบเทียบราคา
3. คีย์ราคาน้ำมันลงในระบบ Axapta
4. ทำใบขออนุมัติจ่ายน้ำมัน
5. ออกใบสั่งซื้อสินค้า
6. สรุปผลต่างการรับน้ำมันทางรถ
7. แจ้งประกันรับน้ำมันทางเรือ
8. จัดทำเอกสารให้ฝ่ายที่เกี่ยวข้อง

รายละเอียดในการฝึกประสบการวิชาชีพ (สัปดาห์ที่ 4)

สัปดาห์ที่ 4 (วันที่ 30 - 4 กรกฎาคม 2551) เวลา 8.00 - 17.30 น.

1. สรุปสต็อกน้ำมันใสประจำวัน
2. เช็คราคามันน้ำจากที่ต่าง ๆ เพื่อเปรียบเทียบราคา
3. คีย์ราคาน้ำมันลงในระบบ Axapta
4. ทำใบขออนุมัติจ่ายน้ำมัน
5. ออกใบสั่งซื้อสินค้า
6. สรุปผลต่างการรับน้ำมันทางรถ
7. แจ้งประกันรับน้ำมันทางเรือ
8. จัดทำเอกสารให้ฝ่ายที่เกี่ยวข้อง

รายละเอียดในการฝึกประสบการวิชาชีพ (สัปดาห์ที่ 3)

สัปดาห์ที่ 3 (วันที่ 23 - 27 มิถุนายน 2551) เวลา 8.00 - 17.30 น.

1. สรุปสต็อกน้ำมันใสประจำวัน
2. เช็คราคามันน้ำจากที่ต่าง ๆ เพื่อเปรียบเทียบราคา
3. คีย์ราคาน้ำมันลงในระบบ Axapta
4. ทำใบขออนุมัติจ่ายน้ำมัน
5. ออกใบสั่งซื้อสินค้า
6. สรุปผลต่างการรับน้ำมันทางรถ
7. แจ้งประกันรับน้ำมันทางเรือ
8. จัดทำเอกสารให้ฝ่ายที่เกี่ยวข้อง

รายละเอียดในการฝึกประสบการวิชาชีพ (สัปดาห์ที่ 2)


สัปดาห์ที่ 2 (วันที่ 16 - 20 มิถุนายน 2551) เวลา 8.00 - 17.30 น.


1. สรุปสต็อกน้ำมันใสประจำวัน
2. เช็คราคามันน้ำจากที่ต่าง ๆ เพื่อเปรียบเทียบราคา
3. คีย์ราคาน้ำมันลงในระบบ Axapta
4. ทำใบขออนุมัติจ่ายน้ำมัน
5. ออกใบสั่งซื้อสินค้า
6. สรุปผลต่างการรับน้ำมันทางรถ
7. แจ้งประกันรับน้ำมันทางเรือ 8. จัดทำเอกสารให้ฝ่ายที่เกี่ยวข้อง

รายละเอียดในการฝึกประสบการวิชาชีพ (สัปดาห์ที่ 1)

สัปดาห์ที่ 1 ( วันที่ 10 - 13 มิถุนายน 2551) เวลา 8.00 - 17.30 น.

1. สรุปสต็อกน้ำมันใสประจำวัน
2. เช็คราคามันน้ำจากที่ต่าง ๆ เพื่อเปรียบเทียบราคา
3. คีย์ราคาน้ำมันลงในระบบ Axapta
4. ทำใบขออนุมัติจ่ายน้ำมัน
5. ออกใบสั่งซื้อสินค้า
6. สรุปผลต่างการรับน้ำมันทางรถ
7. แจ้งประกันรับน้ำมันทางเรือ
8. จัดทำเอกสารให้ฝ่ายที่เกี่ยวข้อง

วันอังคารที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2551

ประวัติส่วนตัว

ชื่อ : นางสาวเครือวัลย์ รักท้วม
ชื่อเล่น : วัลย์
อายุ : 24 ปี
วัน/เดือน/ปีเกิด : 12 มีนาคม 2527
อุปนิสัย : สนุกสนาน ร่าเริง
ปัจจุบันทำงาน : บริษัท สยามสหบริการ จำกัด (มหาชน)
ปัจจุกำลังศึกษา : มหาวิทยาลัยราชภัฎบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

ประชาสัมพันธ์คอมพิวเตอร์


ในปี พ.ศ. 2527 ได้มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติวิทยาลัยครู พ.ศ. 2527 (ฉบับที่ 2) มีผลให้วิทยาลัยครูซึ่งเป็นสถาบันที่ผลิตบุคลากรทางการศึกษาเพียงอย่างเดียว สามารถผลิตบัณฑิตได้อีก 2 สาขา คือ วิทยาศาสตร์บัณฑิต (วท.บ.) และศิลปศาสตร์บัณฑิต (ศศ.บ.) ในเวลาต่อมามีสถาบันที่ผลิตครูมากขึ้น ทั้งในมหาวิทยาลัยต่าง ๆ และวิทยาลัยครูเอง ทำให้ผลิตครูเกินความต้องการ บัณฑิตเกิดการว่างงานจำนวนมาก ดังนั้นวิทยาลัยครูบ้านสมเด็จเจ้าพระยา จึงได้จัดตั้งคณะวิทยาการจัดการขึ้นในปี พ.ศ. 2527 (27 พฤศจิกายน 2527) ทำหน้าที่จัดการเรียนการสอน และผลิตบัณฑิตสาขาศิลปศาสตร์เพื่อสนองตอบความต้องการของสังคม ในขณะนั้น

คณะวิทยาการจัดการ เดิมเรียก คณะวิชาวิทยาการจัดการ มีสำนักงานตั้งอยู่ที่อาคาร 3 ชั้น 2 ตรงข้างหอประชุมเก่า (โรงอาหาร) ในครั้งแรกที่เปิดสอนยังไม่มีการแบ่งส่วนราชการภายใน หลังจากนั้นอีก 1 ปี จึงได้มีการแบ่งส่วนราชการภายในเป็น 5 ภาควิชา คือ

1. ภาควิชาการเงินและบัญชี
2. ภาควิชาการตลาด
3. ภาควิชานิเทศศาสตร์

4. ภาควิชาบริหารธุรกิจและสหกรณ์
5. ภาควิชาเศรษฐศาสตร์


โปรแกรมวิชาการบริหารธุรกิจ แขนงวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ระดับปริญญาตรี (หลังอนุปริญญา)
หลักสูตรโปรแกรมวิชาการบริหารธุรกิจ แขนงวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
Bachelor of Business Administration Program in Business Computer
ชื่อ ปริญญา ชื่อเต็ม : ปริญญาการบริหารธุรกิจบัณฑิต (คอมพิวเตอร์ธุรกิจ)
Bachelor of Business Administration (Business Computer)
ชื่อย่อ : บธ.บ. (คอมพิวเตอร์ธุรกิจ)
B.B.A. (Business Computer)
จุดประสงค์เฉพาะ
1. เพื่อผลิตบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถในการบริหารธุรกิจระดับวิชาชีพ (Professional) ในวิชาบริหารธุรกิจเฉพาะทาง ในวิชาการด้าน ต่าง ๆ ที่สามารถนำไปประกอบอาชีพได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. เพื่อผลิตบุคลากรที่มีความรู้ความเข้าใจในระบบเศรษฐกิจและสังคม สามารถนำไปใช้ในการตัดสินใจ ดำเนินธุรกิจได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
3. เพื่อผลิตบุคลากรที่สามารถติดตามและปรับตัวให้เข้ากับสภาพการเปลี่ยนแปลง ความก้าวหน้าในเทคโนโลยีฯ และการบริหารธุรกิจในงานอาชีพ
4. เพื่อผลิตบุคลากรที่มีเจตคติและค่านิยมในการประกอบอาชีพอิสระอย่างมีคุณภาพ จริยธรรม และปัญญาธรรม

โครงสร้างหลักสูตร
มีหน่วยกิตการเรียนตลอดหลักสูตรในแขนงวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจไม่น้อยกว่า 73 หน่วยกิต และมีสัดส่วนหน่วยกิต แต่ละหมวดวิชาและแต่ละกลุ่มวิชา ดังนี้
1. หมวดวิชาการศึกษาทั่วไป 18 หน่วย
(1) กลุ่มวิชาภาษาและการสื่อสาร 3 หน่วยกิต
1500103 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารและทักษะการเรียน 3(3-0)
(2) กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ 6 หน่วยกิต
2500101 พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน 3(3-0)
2000101 สุนทรียภาพของชีวิต 3(3-0)
(3) กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ เรียนไม่น้อยกว่า 3 หน่วยกิต แต่ไม่เกิน 6 หน่วยกิต
2500103 วิถีโลก 3(3-0)และ/หรือ
2500104 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม 3(3-0)
(4) กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เรียนไม่น้อยกว่า 3 หน่วยกิต แต่ไม่เกิน 6 หน่วยกิต
4000102 การคิดและการตัดสินใจ 3 (2-2)และ/หรือ
4000104 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ 3 (2-2)
2. หมวดวิชาเฉพาะด้าน (แขนงวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ) 49 หน่วยกิต
(1) กลุ่มวิชาเนื้อหา 35 หน่วยกิต
1551606 ภาษาอังกฤษธุรกิจ 2 3(3-0)
3503901 การวิจัยทางธุรกิจ 3(2-2)
3504101 จริธรรมทางธุรกิจ 3(3-0)
3564201 การจัดการเชิงกลยุทธ์ 3(3-0)
3593301 การวิเคราะห์เชิงปริมาณ 3(3-0)
3503201 การจัดระบบเครือข่ายและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์ 3(2-2)4122502 การวิเคราะห์และออกแบบระบบ 1 3(2-2)
4121202 การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1 3(2-2)
1.2 เลือกเรียน ให้เลือกเรียนรายวิชาต่อไปนี้ไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต
3503202 การจัดการงานเลขานุการและธุรการด้วยคอมพิวเตอร์ 3(2-2)
3503203 การประมวลผลการวิจัยทางธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์ 3(2-2)
3504201 การจัดการของคงคลังด้วยคอมพิวเตอร์ 3(2-2)3504202 การวางระบบบัญชีด้วยคอมพิวเตอร์ 3(2-2)3562104 การจัดการธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์ 3(2-2)
35694908 การสัมมนาคอมพิวเตอร์ 3(2-2)
4091606 คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ 3(3-0)
4121103 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริทึ่ม 3(2-2)
4121202 การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1 3(2-2)
4121301 โปรแกรมภาษาเบสิก 1 3(2-2)4121302 โปรแกรมภาษาโคบอล 1 3(2-2)4122201 ฐานข้อมูลเบื้องต้น 3(2-2)
4122202 โครงสร้างข้อมูล 3(2-2)4122203 การประมวลผลแฟ้มข้อมูล 3(2-2)
4122401 ภาษาคอมพิวเตอร์ 3(2-2)
4122602 โปรแกรมประยุกต์ด้านการจัดการสำนักงานอัตโนมัติ 3(2-2)
4122603 คอมพิวเตอร์กราฟิก 3(2-2)
4122606 โปรแกรมประยุกต์ด้านระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร 3(2-2)
4122701 ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรม 3(2-2)
4123601 โปรแกรมประยุกต์ด้านสถิติและวิจัย 1 3(2-2)
4123603 โปรแกรมประยุกต์ด้านการเงินและการบัญชี 3(2-2)
4123604 โปรแกรมประยุกต์ด้านการควบคุมสินค้า 3(2-2)
4123605 โปรแกรมประยุกต์ด้านงานทะเบียนบุคคลและการจ่ายเงินเดือน 3(2-2)
4123607 การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในงานธุรกิจ 3(2-2)
4123611 การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในด้านการธนาคาร 3(2-2)4123612 คอมพิวเตอร์ช่วยสอน 3(2-2)4123613 คอมพิวเตอร์ช่วยออกแบบ 3(2-2)
4123615 โปรแกรมประยุกต์ด้านงานธุรการ 3(2-2)
4123619 การประยุกต์ใช้มัลติมีเดีย 3(2-2)
4123702 ระบบการสื่อสารข้อมูล 3(2-2)
4123903 หัวข้อพิเศษเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 3(2-2)
4124501 ปัญญาประดิษฐ์ 3(2-2)
ข้อกำหนดเฉพาะ
1) ในกรณีเคยเรียนรายวิชาบังคับในระดับอนุปริญญาตามหลักสูตรของสถาบันราชภัฏแล้วให้เลือกเรียนรายวิชาเลือกในแขนงวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจตาม 1.2 แทน
2) ผู้ที่ไม่เคยเรียนรายวิชาต่อไปนี้
3592101 เศรษฐศาสตร์จุลภาค 1 3592102 เศรษฐศาสตร์มหภาค 1
3521101 การบัญชี 1 3521102 การบัญชี 2
4112105 สถิติธุรกิจ 3531101 การเงินธุรกิจ
3541101 หลักการตลาด
ให้เรียนโดยไม่นับหน่วยกิตรวม ในเกณฑ์การสำเร็จการศึกษา
3) สำหรับผู้ที่เคยสอบได้รายวิชาที่มีเนื้อหาเทียบเท่าหรือเคยสอบได้รายวิชาที่สูงกว่ารายวิชาที่กำหนดไว้ใน ข้อ 2) มาแล้วในระดับอนุปริญญาหรือเทียบเท่าให้ยกเว้นไม่ต้องเรียน
(2) กลุ่มวิชาวิทยาการจัดการ
บังคับ เรียน 9 หน่วยกิต
3524301 การบัญชีเพื่อการจัดการ 3(3-0)
3543101 การบริหารการตลาด 3(3-0)
3562307 การบริหารการผลิต 3(3-0)
ข้อกำหนดเฉพาะ
1) ผู้ที่เรียนแขนงวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจในระดับปริญญาตรี (หลังอนุปริญญา) ต้องผ่านการศึกษารายวิชาคอมพิวเตอร์ไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต
2) ผู้ที่ไม่เคยเรียนรายวิชา 3561101 องค์การและการจัดการ และ 3532202 การภาษีอากรธุรกิจ ให้เรียนโดยไม่นับหน่วยกิตรวมในเกณฑ์การสำเร็จการศึกษา
3) สำหรับผู้ที่เคยสอบได้รายวิชาที่มีเนื้อหาเทียบเท่าหรือเคยสอบได้รายวิชาที่สูงกว่ารายวิชาที่กำหนดไว้ในข้อ 2) มาแล้วในระดับอนุปริญญาหรือเทียบเท่าให้ยกเว้นไม่ต้องเรียน
4) กรณีที่เคยเรียนรายวิชาบังคับของกลุ่มวิทยาการจัดการมาแล้วในระดับอนุปริญญา ให้เลือกเรียนรายวิชาเลือกในแขนงวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจที่กำหนดไว้ใน 1.2 แทน

(3) กลุ่มวิชาเตรียมฝึกประสบการณ์และฝึกประสบการณ์วิชาชีพ 5 หน่วยกิต
3503811 การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพบริหารธุรกิจ 2 2(0-90)
3504808 การฝึกประสบการณ์วิชาชีพบริหารธุรกิจ 2 3(0-210)

3. หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต
ให้เลือกเรียนรายวิชาใด ๆ ในหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏ โดยไม่ซ้ำกับรายวิชาที่เคยเรียนมาแล้ว และต้องไม่เป็นรายวิชาที่กำหนดให้เรียนโดยไม่นับหน่วยกิตรวมเป็นเกณฑ์ในการสำเร็จหลักสูตรของโปรแกรมวิชานี้






จดหมายเวียน


จดหมายเวียนเป็นลักษณะจดหมายที่มีข้อความเหมือนๆ กันหลายๆ ฉบับ จะเปลี่ยนแปลงบ้างในบางส่วน เช่น ชื่อ ที่อยู่ วันเวลา สถานที่ เป็นต้น สามารถทำได้โดย พิมพ์เนื้อหาจดหมาย โดยเว้นในส่วนของข้อมูลที่แตกต่างกันไว้ แล้วไปที่เมนู เครื่องมือ à จดหมายและเมล à จดหมายเวียน...






































วันอาทิตย์ที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2551

ขั้นตอนการสร้าง Blog

5 ขั้นตอน สร้าง Blog ฟรีที่ Blogger


Blogger.com และ Blogspot.com ซึ่งให้บริการ Blog ฟรีโดย Google ที่น่าสนใจ และได้รับความนิยมในหมู่คนไทยมาในปัจจุบัน ด้วยคุณสมบัติมากมาย การพัฒนาอย่างไม่หยุดยั้งของ Google ที่จะช่วยเพิ่มทัศนคติที่ดีต่อผู้ใช้งานอินเตอร์เน็ต ได้ถูกรวมเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งในบริการ Blogger-Blogspot การใช้งานที่ไม่ยุ่งยากซับซ้อน เหมาะกับผู้ใช้งานทุกคน แม้แต่ Blogger ที่อาจเรียกได้ว่าอายุมากที่สุดก็ได้ ยังใช้บริการของที่นี่เลย คนนั้นก็คือ Donald Crowdis ผู้เฒ่าอายุ 92 ปี ดู Blog ของเขาได้ที่ dontoearth.blogspot.com เห็นแล้วอึ้งใช่มั้ยละครับ ถึงแก่แต่ก็ยังมีไฟ แล้วคุณล่ะ มี Blog กันแล้วหรือยัง ถ้ายังก็เข้าเรื่องต่อกันเลย



1. เข้าไปทีเว็บไซต์ Blogger.com จะปรากฏหน้าจอแบบนี้นะครับ ให้คลิกที่ Create Your Blog Now เพื่อไปสู่ขั้นตอนต่อไปเลยครับ



2. กรอกรายละเอียดต่างให้ครบทุกช่อง ซึ่งประกอบด้วย อีเมล์ รหัสผ่าน ยืนยันรหัสผ่าน และกรอกตัวอักษรที่ปรากฏขึ้นมา พร้อมติ๊กเครื่องหมายถูกที่ช่อง I accept the Terms of Service เพื่อยอมรับข้อตกลงต่างๆ ตามลำดับ เสร็จแล้ว Continue เพื่อไปขั้นตอนต่อไป




3. กรอกรายละเอียดเล็กน้อยเกี่ยวกับ Blog กรอกชื่อ Blog (URL ของ Blog ที่เราต้องการ) คลิก Continue ไปสู่ขั้นตอนต่อไป



4. เลือกรูปแบบ (Theme-Template) ที่เราต้องการครับ มีให้เลือกเยอะดี เลือกได้ตามใจชอบเลยครับ






5. เสร็จเรียบร้อยสมดังตั้งใจ คลิกที่ Start Posting เพื่อเริ่มเขียน Blog เลยครับ









ไม่ยากอะไรใช่ไหมล่ะครับ เริ่มเขียนกันเลย ง่ายเหมือนเล่น Word เลย